logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    

ค้นหาบทความ

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • หน้าแรก
  • บทความ
  • เคมี
  • วัตถุระเบิดของโนเบล

วัตถุระเบิดของโนเบล

โดย :
ณัฐดนัย เนียมทอง
เมื่อ :
วันพุธ, 18 กรกฎาคม 2561
Hits
19292

           หากพูดถึงคำว่า ระเบิด คงไม่มีใครไม่คุ้นชื่อคำว่า ไดนาไมต์ วัตถุระเบิดแรงสูง ผลงานงานสร้างชื่ออันเจ็บปวดและอยู่ในความทรงจำอันเศร้าหมอง แต่เป็นจุดเริ่มต้นของรางวัลอันยิ่งใหญ่ระดับสากลของนักวิทยาศาสตร์ (อ่านบทความเกี่ยวกับรางวัลโนเบล) ของอัลเฟรด เบิร์นฮาร์ด โนเบล (Alfred Bernhard Nobel) ผู้ซึ่งเป็นเจ้าของธุรกิจโรงงานผลิตอาวุธขนาดใหญ่ ซึ่งวันนี้เราจะมาทำความรู้จักกันกับเจ้าระเบิดสร้างชื่อนี้

7861 1
ภาพระเบิดไดนาไมท์
ที่มา https://ilovevaquero.com/obrazovanie/86915-kto-izobrel-dinamit-podrobnyy-razbor.html

          การทำงานและการประดิษฐ์วัตถุระเบิดของอัลเฟรด โนเบล มีจุดเริ่มต้นมาจากบิดาของเขาเองซึ่งเป็นนักประดิษฐ์ทุ่นระเบิดและตอร์ปีโด ทำให้ได้รับการถ่ายทอดวิชาและเทคนิคการทำวัตถุระเบิดเบื้องต้นมาพอสมควร

          ในปี ค.ศ. 18632 อัลเฟรด โนเบลสร้างโรงงานขนาดเล็กเพื่อวิจัยและทดลอง โดยมีความพยายามเพื่อหาวิธีการควบคุมการทำงานของระเบิดให้ระเบิดได้ยากขึ้น จนในที่สุดความพยายามนั้นก็สำเร็จ ในปี ค.ศ. 1863 อัลเฟรด โนเบลค้นพบวิธีที่จะทำให้การระเบิดเกิดขึ้นได้ยากขึ้น ซึ่งมีกระบวนการสำคัญคือการนำสารไนโตรกลีเซอรีน (nitroglycerin) สารตั้งต้นสำคัญของการทำวัตถุระเบิด ซึ่งมีความไวในการระเบิดสูงเมื่อมีแรงสั่นสะเทือน แต่มีความปลอดภัย ค้นพบโดยนักเคมีชาวอิตาลีนาม แอสคานิโอ โซเบรโน (Ascanio Sobrero) มารวมกับตัวซึมซับเฉื่อย เช่น ผงไดอะตอมมาเชียส (diatomaceous earth - ผงที่ทำจากซากไดอะตอม) หรือใยฝ้ายดูดซับเป็นตัวดูดซับ ทำให้ไม่ไวต่อการระเบิด บางแห่งเรียกว่าดินอะตอม ดินเบา แต่ที่คุ้นหูกันมากที่สุดคือผงดินปืนนั่นเอง

          ถึงแม้ว่าจะทำให้การระเบิดเกิดขึ้นได้ยาก ซึ่งจะมีความปลอดภัยมากในการผลิต แต่ในทางกลับกันอานุภาพความรุนแรงของการระเบิดกลับรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิมมาก อัลเฟรด โนเบลจึงตั้งชื่อระเบิดชนิดนี้ว่า ไดนาไมต์ (Dynamite)

มาทำความรู้จัก ไนโตรกลีเซอรีน (nitroglycerin) กันอีกสักนิด

          ไนโตรกลีเซอรีน สถานะปกติเป็นของเหลว ไม่มีสี เป็นสารประกอบเคมี ระหว่าง “ไนโตรเจน” กับ “กรีเซอรีน” ซึ่ง กรีเซอรีนนั้นทำมาจากน้ำมันถั่วลิสง และรู้จักกันดีว่าเป็นสารส่วนผสมผลิตภัณฑ์ประเภทสบู่นั่นเอง

          ไดนาไมต์เป็นระเบิดชนิดรุนแรง แต่มีความปลอดภัยในการขนย้าย จึงถูกนำไปใช้ในวงกว้างทั่วโลกมักใช้ในอุตสาหกรรมชนิดต่าง ๆ เช่น การทำเหมืองแร่ การสร้างอุโมงค์ การขุดคลอง และในทางร้ายแรงคือในสงคราม

          ซึ่งนั่นเป็นจุดหนึ่งที่ทำให้อัลเฟรด โนเบล มักถูกมองว่าเป็นบุคคลอันตราย โดยมอบฉายานามให้เขาว่า พ่อค้าแห่งความตาย (Merchant of Death) อัลเฟรด โนเบล ประสบความสำเร็จในการดำเนินกิจการทางด้านระเบิดเป็นอย่างมาก แต่ก็มีเหตุให้เขาต้องกลายเป็นเหมือนฆาตกรระดับโลก เพราะไดนาไมต์ถูกนำไปใช้เป็นอาวุธสงคราม และเหตุการณ์สำคัญที่ทำให้อัลเฟรด โนเบลรู้สึกเศร้าเสียใจมาก ๆ คืออุบัติเหตุร้ายแรงที่เกิดขึ้นในโรงงานผลิตวัตถุระเบิดของเขานั่นเอง และเหตุการณ์นั้นก็ทำให้น้องชายและคนงานของเขาเสียชีวิตไปจำนวนมาก

แหล่งที่มา

ไดนาไมต์.  สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2561, จาก
          https://th.wikipedia.org/wiki/ไดนาไมต์

อัลเฟรด โนเบล.  สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2561, จาก
          https://th.wikipedia.org/wiki/อัลเฟรด_โนเบล

อัลเฟรด โนเบล และรางวัลโนเบล.  สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2561, จาก
          http://www.econ.tu.ac.th/oldweb/doc/article/fulltext/128.pdf

รู้ไหมว่า...ไดนาไมต์ทำจากถั่ว.  สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2561, จาก
          http://www.econ.tu.ac.th/oldweb/doc/article/fulltext/128.pdf

MGR Online.  (2552, 10  ตุลาคม).   รู้ไหมว่า...ไดนาไมต์ทำจากถั่ว.  สืบค้นเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2561, จาก
        https://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9520000119179

How X-rays WorkThe inventor of dynamite is Nobel. History of the invention of dynamite.
         Retrieved Febuary 2, 2018, 
         https://ilovevaquero.com/obrazovanie/85443-izobretatel-dinamita-nobel-istoriya-izobreteniya-dinamita.html

 

 

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ไดนาไมต์, วัตถุระเบิด, ระเบิด
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่เสร็จ
วันอาทิตย์, 01 เมษายน 2561
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
เคมี
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 7861 วัตถุระเบิดของโนเบล /article-chemistry/item/7861-2018-02-22-02-47-01
    คลิ๊กเพื่อติดตาม
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    คะแนนเฉลี่ย
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
ตัวตนแท้จริงของ ยาลดความอ้วน
ตัวตนแท้จริงของ ยาลดความอ้วน
Hits ฮิต (16095)
ให้คะแนน
ตัวตนแท้จริงของ ยาลดความอ้วน ในปัจจุบัน ยาลดความอ้วนที่ใช้มีอยู่หลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทก็มีคุณสม ...
วัฒนธรรมการเกษตรในแอ่งสกล
วัฒนธรรมการเกษตรในแอ่งสกล
Hits ฮิต (12418)
ให้คะแนน
ภูมิประเทศโดยทั่วไปของภาคอีสานเป็นแอ่งที่ราบขนาดใหญ่ มีทิวเขากั้นเป็นขอบสูงชันทางทิศตะวันตกและทิศใต ...
ไวรัสปลายฝนต้นหนาวทำปอดบวม หอบหืด
ไวรัสปลายฝนต้นหนาวทำปอดบวม หอบหืด
Hits ฮิต (15214)
ให้คะแนน
เข้าสู่ช่วงปลายฝนต้นหนาว หรือนับตั้งแต่สิงหาคมไปจนถึงพฤศจิกายน แม้จะเป็นช่วงที่มีไอเย็นเข้ามาคลายร้ ...

ค้นหาบทความ

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)